บันทึกอนุทินครั้งที่5
ความรู้ที่ได้รับ
กิจกรรมก่อนเรียน
นักศึกษาใส่ถุงมือข้างที่ไม่ถนัด แล้ววาดมืออีกข้างที่อยู่ในถุงมือ โดยมีข้อแม้ว่าต้องวาด
ให้เหมือนจริงที่สุด วาดให้ละเอียด แม้กระทั้งเส้นเลือด รอยย่น เส้นเลือด รอยตำหนิ
กิจกรรมก่อนเรียน
นักศึกษาใส่ถุงมือข้างที่ไม่ถนัด แล้ววาดมืออีกข้างที่อยู่ในถุงมือ โดยมีข้อแม้ว่าต้องวาด
ให้เหมือนจริงที่สุด วาดให้ละเอียด แม้กระทั้งเส้นเลือด รอยย่น เส้นเลือด รอยตำหนิ
การสอนเด็กปกติและเด็กพิเศษ
ทักษะของครูและทัศนคติ ครูควรมองเด็กให้เป็นเด็ก ไม่ควรแบ่งแยก สายตาที่มองเด็กควรมองให้เหมือนกันทุกคน ถึงแม้ว่าครูจะรู้ว่าเด็กมีความบกพร่องก็ตาม เพราะเด็กสัมผัสได้ว่าครูมองเหมือนเด็กคนอื่นหรือเปล่า เพราะฉะนั้นควรมองให้เป็นภาพรวม
การฝึกเพิ่มเติม บางโรงเรียนที่ดีจะมีการช่วยเหลือครู อาจมีการอบรมระยะสั้นหรือสัมมนา เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็น และอำนวยเรื่องสื่อต่างๆ เช่น หนังสือ อินเตอร์เน็ต สื่อต่างๆที่ครูสามารถศึกษาความรู้เพิ่มเติม เช่น เพจต่างๆ เพราะพ่อแม่ผู้ปกครองของเด็กชอบแชร์ มาเล่าประสบการณ์ต่างๆ ซึ่งข้อมูลต่างๆเหล่านั้นสำคัญมาก เพราะครูสามารถนำข้อมูลมาปรับใช้กับเด็กได้
การเข้าใจภาวะปกติ เด็กมีความคล้ายกันมากกว่าความแตกต่าง ครูจำเป็นต้องจำชื่อจริง/ชื่อเล่นของเด็กทุกคนในห้อง เพราะเด็กพิเศษเหมือนเพื่อนไม่แตกต่าง
การคัดแยกเด็กที่มีพัฒนาการช้า ต้องคัดเด็กให้ออกว่าคนไหนเป็นเด็กพิเศษ ดังนั้นการบันทึกสำคัญมาก ครูควรมองเดกให้ออกแล้วห้ามบอกกับคนอื่นรู้ ที่สำคัญต้องมองเด็กให้เป็นเด็ก ห้ามมองหยุดชะงักที่เด็กเป็นเวลานานเกินไป เพราะเด็กจะสงสัย
ความพร้อมของเด็ก การสอนทุกครั้งต้องดูความพร้อมของเด็กเป็นหลัก เพราะเด็กแต่ละคนอายุเท่ากันแต่วุฒิภาวะใกล้เคียงกัน เด็กทุกคนจะมีแรงจูงใจต่างกัน และในห้องเรียนเด็กทุกคนมีโอกาสที่จะเรียนเท่ากัน แต่ที่ต่างกันก็คือ เด็กพิเศษมีการเรียนรู้ที่ช้ากว่าเด็กปกติ ห้องเรียนรวมที่ดี คนเป็นครูสามารถทำให้มีขีดจำกัดให้น้อยๆ เพราะจะให้เด็กมีโอกาสเยอะๆ
การสอนโดยบังเอิญ เด็กพิเศษชอบวิ่งเข้ามาหาครูเมื่อมีปัญหา ยิ่งเด็กเข้ามาหาครูมากเท่าไหร่ ครูยิ่งมีโอกาสสอนเด็กมากขึ้นเท่านั้น ครูต้องมีความรู้สึกที่ดีต่อเด็ก ครูต้องมีความพร้อมที่จะพบเด็ก ครูต้องมีความสนใจเด็ก
- บังเอิญทำกิจกรรมนี้พอดี ช่วงทำกิจกรรม เช่น ศิลปะ ระบายสีน้ำแล้ว สองสีต่างกัน แต่พอผสมกันก็กลายเป็นสีอื่น
- เกิดเหตุการณ์ เด็กพิเศษจะวิ่งเข้ามาหาครู เพื่อขอความช่วยเหลือ เช่น น้อง ออทิสติกกำลังกำสีเทียนทำงานศิลปะ พอดีเทียนหัก สีก็จะมุดใต้กระดาษ เด็กก็จะมาขอความช่วยเหลือจากครู ครูสามารถสอนเด็กได้
- ถ้าเด็กมาปรึกษาครู อย่าใช้เวลากับเด็กคนใดคนหนึ่งนานจนเกินไป ถ้ามัวแต่ยุ่งกับเด็กคนหนึ่งนานจนเกินไป เด็กคนอื่นจะรู้สึกว่า "คนนี้อีกแล้ว แล้วหนูหล่ะ"
อุปกรณ์ที่ดีที่สุดในห้องเรียนรวม คือ ไม่แบ่งแยกเพศเด็กเล่นได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย เล่นได้หลากหลายเป็นสื่อที่ไม่ตายตัว เช่น บล็อก
ตารางประจำวัน เด็กพิเศษจะไม่ค่อยชอบตารางที่เปลี่ยนแปลง คงที่มั่นคงเป็นแพตเทิล ข้อดีคือ เด็กคาดคะเนกิจกรรมได้เด็กรู้สึกภูมิใจมั่นใจที่จะทำ
ทัศนะคติของครู
ความยืดหยุ่น ครูต้องยีดหยุ่นให้เป็น แผนการสอนต้องยืดหยุ่นและปรับให้เป็น บางครั้งครูอาจจะสอนเด็กไม่ได้ ครูจำเป็นต้องคิดแผนสด ไม่ต้องเป๊ะจนเกินไป ไม่ต้องดังทุรังสอน ครูต้องตอบสนองต่อเป้าหมายที่สำคัญที่สุดสำหรับเด็กแต่ละคน
ความพร้อมของเด็ก การสอนทุกครั้งต้องดูความพร้อมของเด็กเป็นหลัก เพราะเด็กแต่ละคนอายุเท่ากันแต่วุฒิภาวะใกล้เคียงกัน เด็กทุกคนจะมีแรงจูงใจต่างกัน และในห้องเรียนเด็กทุกคนมีโอกาสที่จะเรียนเท่ากัน แต่ที่ต่างกันก็คือ เด็กพิเศษมีการเรียนรู้ที่ช้ากว่าเด็กปกติ ห้องเรียนรวมที่ดี คนเป็นครูสามารถทำให้มีขีดจำกัดให้น้อยๆ เพราะจะให้เด็กมีโอกาสเยอะๆ
การสอนโดยบังเอิญ เด็กพิเศษชอบวิ่งเข้ามาหาครูเมื่อมีปัญหา ยิ่งเด็กเข้ามาหาครูมากเท่าไหร่ ครูยิ่งมีโอกาสสอนเด็กมากขึ้นเท่านั้น ครูต้องมีความรู้สึกที่ดีต่อเด็ก ครูต้องมีความพร้อมที่จะพบเด็ก ครูต้องมีความสนใจเด็ก
- บังเอิญทำกิจกรรมนี้พอดี ช่วงทำกิจกรรม เช่น ศิลปะ ระบายสีน้ำแล้ว สองสีต่างกัน แต่พอผสมกันก็กลายเป็นสีอื่น
- เกิดเหตุการณ์ เด็กพิเศษจะวิ่งเข้ามาหาครู เพื่อขอความช่วยเหลือ เช่น น้อง ออทิสติกกำลังกำสีเทียนทำงานศิลปะ พอดีเทียนหัก สีก็จะมุดใต้กระดาษ เด็กก็จะมาขอความช่วยเหลือจากครู ครูสามารถสอนเด็กได้
- ถ้าเด็กมาปรึกษาครู อย่าใช้เวลากับเด็กคนใดคนหนึ่งนานจนเกินไป ถ้ามัวแต่ยุ่งกับเด็กคนหนึ่งนานจนเกินไป เด็กคนอื่นจะรู้สึกว่า "คนนี้อีกแล้ว แล้วหนูหล่ะ"
อุปกรณ์ที่ดีที่สุดในห้องเรียนรวม คือ ไม่แบ่งแยกเพศเด็กเล่นได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย เล่นได้หลากหลายเป็นสื่อที่ไม่ตายตัว เช่น บล็อก
ตารางประจำวัน เด็กพิเศษจะไม่ค่อยชอบตารางที่เปลี่ยนแปลง คงที่มั่นคงเป็นแพตเทิล ข้อดีคือ เด็กคาดคะเนกิจกรรมได้เด็กรู้สึกภูมิใจมั่นใจที่จะทำ
ทัศนะคติของครู
ความยืดหยุ่น ครูต้องยีดหยุ่นให้เป็น แผนการสอนต้องยืดหยุ่นและปรับให้เป็น บางครั้งครูอาจจะสอนเด็กไม่ได้ ครูจำเป็นต้องคิดแผนสด ไม่ต้องเป๊ะจนเกินไป ไม่ต้องดังทุรังสอน ครูต้องตอบสนองต่อเป้าหมายที่สำคัญที่สุดสำหรับเด็กแต่ละคน
การใช้สหวิทยาการ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างการบำบัดกับกิจกรรมในห้องเรียน กิจกรรมที่ใช้มากคือ การร้องเพลง
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการเรียนรู้
เด็กทุกคนสอนได้ เด็กเรียนไม่ได้เพราะขาดโอกาสมากกว่าไร้สมรรถภาพ ทุกคนมีศักยภาพอยู่กับตัว ขึ้นอยู่กับว่าคนนั้นมีมากน้อยขนาดไหน
เทคนิคการให้แรงเสริม เด็กพิเศษชอบการชมมาก
แรงเสริมทางสังคมจากผู้ใหญ่ ความสนใจของผู้ใหญ่ที่มีต่อเด็กนั้นสำคัญมาก เป็นการให้เด็กเกิดพฤติกรรมนั้นบ่อยๆ ยังมีแรงเสริมพฤติกรรมยิ่งเกิดบ่อยๆ
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการเรียนรู้
เด็กทุกคนสอนได้ เด็กเรียนไม่ได้เพราะขาดโอกาสมากกว่าไร้สมรรถภาพ ทุกคนมีศักยภาพอยู่กับตัว ขึ้นอยู่กับว่าคนนั้นมีมากน้อยขนาดไหน
เทคนิคการให้แรงเสริม เด็กพิเศษชอบการชมมาก
แรงเสริมทางสังคมจากผู้ใหญ่ ความสนใจของผู้ใหญ่ที่มีต่อเด็กนั้นสำคัญมาก เป็นการให้เด็กเกิดพฤติกรรมนั้นบ่อยๆ ยังมีแรงเสริมพฤติกรรมยิ่งเกิดบ่อยๆ
วิธีการแสดงออกถึงแรงเสริมจากผู้ใหญ่
ตอบสนองด้วยวาจา แค่เด็กมาหาแล้วโชว์ผลงาน แค่ครูดูรูปแล้วพูดคำว่า "จร้า" ก็ถือว่าเป็นการตอบสนองสำหรับเด็กแล้ว
ตอบสนองด้วยวาจา แค่เด็กมาหาแล้วโชว์ผลงาน แค่ครูดูรูปแล้วพูดคำว่า "จร้า" ก็ถือว่าเป็นการตอบสนองสำหรับเด็กแล้ว
การยืนหรือนั่งใกล้ตัวเด็ก เด็กจะชอบมาก
พยักหน้ารับ ยิ้ม ฟัง แค่เด็กเงยหน้าขณะทำงานศิลปะ เพียงแค่ครูพยักหน้าให้เด็กยิ่งชอบ ครูยิ้มหวานทำให้เด็กรู้สึกว่าอ่อนโยน
สัมผัสทางกาย ด้วยการกอดเด็ก สำผัสตัวเด็กอย่างเต็มใจ เพราะเด็กพิเศษชอบการสัมผัสมาก เช่น เด็กดาวน์ชอบกอด ซบ หอมแก้วครู แต่ครูห้ามรังเกียจ กอดเด็กให้เเน่นๆ
หลักการให้แรงเสริมในเด็กปฐมวัย ครูต้องชมทันทีที่เด็กมีพฤติกรรมที่ดี แต่ไม่ต้องชมมากจนเกินไป เช่น ครูต้องการให้เด็กจับดินสอถูก พอเด็กจับดินสอเป็น ครูควรชมทันที ชมแค่บางพฤติกรรมพอ ไม่ต้องไปชมต่อ
การแนะนำหรือบอกบท เป็นวิธีการที่สำคัญมากสำหรับเด็กพิเศษ ย่อยงาน บอกเป็นขั้นตอนโดยละเอียดลำดับความยากง่ายของงาน เป็นการเสริมแรงเพื่อให้เด็กค่อยๆก้าวไปสู่ความสำเร็จ การบอกบทจะค่อยๆน้อยลงตามลำดับ
การกำหนดเวลา จำนวนและความถี่ของแรงเสริมที่ให้กับพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กต้องมีความเหมาะสม ห้ามยาวเกินไป
ความต่อเนื่อง ครูต้องสอนแบบก้าวไปข้างหน้า หรือย้อนมาจากข้างหลัง
การลดหรือหยุดแรงเสริม ครูจะจดแรงเสริมกับเด็กที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ห้ามให้เด็กทำในสิ่งที่เขาชอบ เช่น ถ้าเด็กกำลังเล่นอยู่ ครูเอาของเล่นกลับ เอากิจกรรมออกจากตัวเด็ก (ครูจะใช้วิธีการนี้บ่อยมาก) จำนวนอายุ/จำนวนนาที ให้เด็กอยู่ในมุม
ประเมินตนเอง
ตั้งใจฟังที่อาจารย์อธิบาย และพยายามจดเนื้อหาที่สำคัญ แต่ขาดการเตรียมตัวมาล่วงหน้า กิจกรรมวาดภาพเหมือน
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆทุกคนมีความตั้งใจและให้ความร่วมมือในการทำกิจจกรรม ทุกคนวาดรูปมือของตัวเองได้เหมือนมาก
ประเมินอาจารย์
อาจารย์สอนสนุก มีเทคนิคในการสอนที่หลากหลาย ไม่ได้สอนแค่ในเนื้อหา แต่นำกิจกรรมมาให้ทำ ตอนแรกก็ไม่รู้หรอกว่าอาจารย์ให้วาดภาพเหมือนทำไม เพราะเรียนวิชาศิลปะครูห้ามให้เด็กวาดภาพตามแบบ แต่